Konata Izumi - Lucky Star

วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562


DIARY NO. 14
Monday 18 November 2019



Knowledge summar สรุปความรู้💦
         วันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรม 2 กิจกรรม ที่มีความเชื่องโยงกัน

👉กิจกรรมที่ 1👈 ให้เต้นประกอบเพลงในลักษณะผู้นำผู้ตาม 
          🌱กติกาคือ ยืนเป็นวงกลม และมีผู้นำ 1 คน ยืนกลางวง เมื่อเพลงขึ้น สำหรับคนยืนเป็นวงกลมให้ย้ำเท้า ปรบมือตามจังหวะเพลง  สำหรับคนที่อยู่ในวง ให้เดินปรบมือไปรอบๆวง เมื่อเพลงขึ้นอีกจังหวะให้หาเพื่อน 1 คนแล้วหยุดทำท่า เพื่อนที่อยู่ตรงหน้าก็ทำท่าตามเพื่อน พอเพลงขึ้นอีกจังหวะให้ทั้งคู่กลับหลังหันจับไหล่เพื่อนแล้วเดินวงไปแล้วทำซ้ำไปเรื่อยๆ


🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁


🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁

👉กิจกรรมที่ 2👈 การเคาะจังหวะ โดยใช้อุปกรณ์ 
            🌱กติกา ให้นั่งเป็นวงกลม แล้ววางอุปกรณ์ไว้ข้างหน้า เริ่มจาก 
🌴เคาะที่ข้างหน้าตัวเอง 1 ที แล้ว วางข้างหน้าเพื่อนฝั่งขวามือของตัวเอง
🌴เคาะที่ข้างหน้าตัวเอง 1 ที แล้วเคาะที่ขาตัวเองฝั่งซ้ายแล้ววางข้างหน้าเพื่อนฝั่งขวา
🌴ให้หลับตาแล้ว เคาะที่ข้างหน้าตัวเอง 1 ที แล้วเคาะที่ขาตัวเองฝั่งซ้ายแล้ววางข้างหน้าเพื่อนฝั่งขวา
🌴เคาะที่ข้างหน้าตัวเอง 1 ที แล้ววางที่มือซ้ายของเพื่อนฝั่งขวา แล้วหยิบอุปกรณ์ด้วยมือขวาจากมือซ้ายที่ได้รับมาจากเพื่อน  
🌴ให้หลับตา เคาะที่ข้างหน้าตัวเอง 1 ที แล้ววางที่มือซ้ายของเพื่อนฝั่งขวา แล้วหยิบอุปกรณ์ด้วยมือขวาจากมือซ้ายที่ได้รับมาจากเพื่อน  


🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁


🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁


🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁🍀🍁

🍄🍄จากกิจกรรมทั้งหมดนั้น สื่อได้ว่า 🍄🍄

🌳  การสอนแบบ EF  🌳

🌱 ทักษะพื้นฐาน
             1. จำนำไปใช้
             2.เลือกคิดไตร่ตรอง
             3. การยืดหยุ่น
🌱 การกำกับตนเอง
             1. ใส่ใจจดจ่อ
             2. ควบคุมอารมณ์
             3.ประเมินตนเอง
🌱 ทักษะการปฏิบัติ
             1. ริเริ่มลงมือทำ
             2. วางแผนจัดระบบ
             3. มุ่งเป้าหมาย
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่ดี ต้องเป็นสิ่งที่ดีและนำมาใช้ได้
สิ่งทั้งหมดจะเกิดขึ้นได้ ต้องมีครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ให้ความสะดวก เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของเขา โดยต้องมีความเชื่อว่า เด็กสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ด้วยสื่อหรือการเล่นที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้

🌻🌼🌻🌼🌻🌼🌻🌼🌻🌼

🌳  หลักสูตรไฮสโคป  🌳

💖วงล้อแห่งการเรียนรู้💖 เป็นการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ ประสบการณ์ที่ริเริ่ม

🌵 1.พื้นที่สื่อ การเก็บ หรือ การจัดสิ่งแวดล้อม โดยจัดพื้นที่ในห้องเรียนเป็น 5 ส่วน เริ่มจาก
             1.1  พื้นที่ไว้ของส่วนตัว
             1.2 พื้นที่สำหรับจัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่ ย่อย
             1.3พื้นที่ตามมุม ในไฮสโคปมีมุมไม่ต่ำกว่า 5 มุม คือ
                          1.3.1 หนังสือ
                          1.3.2 บล็อก
                          1.3.3 ศิลปะ
                          1.3.4 ของเล่น
                          1.3.5 บทบาทสมมติ
             1.4 พื้นที่ครู
             1.5 พื้นที่ติดผลงานเด็ก
🌵 2. กลยุทธ์ปฏิสัมพันธ์การกระตุ้น ส่งเสริมแก้ปัญหา หรือ ปฏิสัมพันธระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กเน้นปฏิสัมพันธ์ที่ดี
🌵 3. กลยุทธ์ปฏิสัมพันธ์การกระทำ ส่งเสริม แก้ปัญหา หรือ กิจวัตรประจำวัน
🌵 4. คณะทำงานบันทึกประจำวัน วางแผนกิจวัตรประจำวัน ประเมินพัฒนาการ

🍄  องค์ประกอบของไฮสโคป   🍄 
                  1.เปิดโอกาสให้เด็กเลือกและตัดสินใจ
                  2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้หลากหลาย
                  3. พื้นที่เวลาและเวลา
                  4. เน้นให้เด็กใช้ประสาทสัมผัส
                  5. ภาษาจากเด็กเป็นสิ่งที่สะท้อนความคิดของเด็ก
                  6. ครูเป็นแค่ผู้ชี้แนะและรับฟัง

 🌼🌻🌼🌻🌼🌻🌼🌻🌼🌻

Assessment การประเมินผล
     Self          : วันนี้ได้เข้าร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อน
     Friend     : เพื่อนๆช่วยกันนร่วมทำกิจกรรม
     Teacher  : มีการทบทวนความรู้เดิมให้แล้วสอดแทรกความรู้ใหม่เพิ่มเติมขึ้น





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น